FASCINATION ABOUT ทำไมค่าครองชีพแพง

Fascination About ทำไมค่าครองชีพแพง

Fascination About ทำไมค่าครองชีพแพง

Blog Article

“มีปัจจัยอื่นๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับแรงกดดันจากแรงงานและต้นทุนที่ส่งผลให้ราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป” คุณ คาร์มอนต์ กล่าว

แก้รัฐธรรมนูญ การเมือง เศรษฐกิจ สิทธิมนุษยชน ศิลปวัฒนธรรม ต่างประเทศ คุณภาพชีวิต ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม ไอซีที อินโฟกราฟิก แรงงาน วารสาร คนทำงาน กวีประชาไท สัมภาษณ์ กีฬา

Important cookies are Certainly important for the website to function effectively. These cookies assure simple functionalities and safety features of the web site, anonymously.

ผู้ผลิตหลายรายในหลายพื้นที่อย่างในเอเชีย เผชิญกับการถูกบังคับให้ปิดตัวเนื่องจากข้อจำกัดป้องกันการระบาดของโควิด ทำให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ทันกับความต้องการนับตั้งแต่นั้น

ขณะที่คนไทย รับประทานเกือบทุกส่วนของหมู แต่สำหรับชาวตะวันตก สิทธิพันธ์กล่าวว่า พวกเครื่องใน สองกีบที่เท้าหมูหรือคากิ ฝรั่งเขาไม่รับประทานกัน แต่มักจะรับประทานพวกเนื้อแดง เนื้อสัน และเนื้อสะโพกแทน ส่วนเนื้อสามชั้น ฝรั่งรับประทานไม่มาก

เมื่อเด็กมีปัญหาสุขภาพจิต แต่เรามีบุคลากรรับมือเพียงพอไหม

 ดูทั้งหมด  เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง

ค่าแรงขั้นต่ำไทย ทำไมค่าครองชีพแพง ต่ำไปไหม ทำไมไม่เท่ากัน

รู้จัก “ฮุกกะ” ปรัชญาชีวิตอันเรียบง่ายจากเดนมาร์ก ประเทศที่คนมีความสุขเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก

ขณะที่ศุภชัย แสดงความเห็นส่วนตัวว่า “เราไม่ได้ขึ้นค่าแรงทุกปี แม้ว่าค่าครองชีพมันปรับขึ้น แต่ค่าครองชีพที่ปรับขึ้นตัวนั้นบางปีมันก็อาจจะไม่ได้ก้าวกระโดด บางปีมันก็ค่อยๆ ปรับขึ้น บังเอิญว่าปีนี้เราอาจจะเห็นว่าของหลายอย่างแพง อย่างไรก็ตามการปรับขึ้นเราต้องดูสภาพเศรษฐกิจด้วย ตอนนี้มีโควิด เราคิดว่าถ้าปรับขึ้น เราปรับขึ้นเยอะได้แค่ไหน ถ้าเยอะ สิ่งที่จะเกิดขึ้นก็คือสถานประกอบการที่ลังเลใจว่าจะจ้างแรงงานหรือเปล่า ก็อาจจะตัดสินใจในการที่จะปลดคนงานทิ้งเลย 

น้ำมันดิบ - น้ำมันดิบมีราคาถูกกว่าตอนโควิดเริ่มระบาดเพราะบริษัทจำนวนมากต้องปิดตัวลงและพลังงานไม่ได้เป็นที่ต้องการ แต่เมื่อสถานการณ์การระบาดใหญ่เริ่มฟื้นตัวกลับมาเป็นปกติ ราคาพลังงานสูงขึ้นเพราะผู้ผลิตพลังงานพยายามตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อที่สูงขึ้น

ราคาแก๊สก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ทำให้ผู้คนทั่วโลกต้องจ่ายค่าทำความร้อนส่วนกลางสูงขึ้นอย่างมาก

ดร.กำพล เสริมว่า สภาวะดังกล่าวจะให้ประชาชนมีอำนาจในการใช้จ่ายได้น้อยลง เพราะหนี้มีมูลค่าสูงขึ้น ขณะที่ค่าจ้างก็โตไม่ทันเงินเฟ้อ จนทำให้ประชาชนมีรายรับรวมน้อยลง สิ่งนี้ส่งผลกับภาคเอกชนในมิติที่คล้ายคลึงกัน คือมีต้นทุนในการผลิตสูงขึ้นยิ่งถ้าต้องไปกู้ยืมเงินมาเพื่อลงทุน ภาคการลงทุนเองก็อาจจะชะลอลงไปจากประเด็นดังกล่าว เพราะประเมินว่าได้ไม่คุ้มเสีย

“ในขณะที่โดยเฉพาะประเทศกลับสู่โลกของการเดินทางอีกครั้งและใช้น้ำมันเบนซินเป็นจำนวนมาก สิ่งที่เกิดขึ้นคืออุปทานลดฮวบลงในช่วงเวลาที่มีอุปสงค์อยู่”

Report this page